แบบทดสอบปลายเปิด บทที่ 10 (1)
คำสั่ง จงอธิบายคำถามแต่ละข้อต่อไปนี้ให้สมบูรณ์
1. อภิปรายความสัมพันธ์ระหว่างฐานข้อมูล และภาวะส่วนตัว
คำสั่ง จงอธิบายคำถามแต่ละข้อต่อไปนี้ให้สมบูรณ์
1. อภิปรายความสัมพันธ์ระหว่างฐานข้อมูล และภาวะส่วนตัว
•ภาวะส่วนตัว เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาและการใช้ข้อมูลส่วนบุคคล
•การใช้งานที่ควรตระหนัก ได้แก่
–ฐานข้อมูลขนาดใหญ่
–สิทธิส่วนบุคคล
–อินเทอร์เน็ต
และเว็บ
•ภาวะส่วนตัวเป็นประเด็นหลักของจริยธรรมทางคอมพิวเตอร์
•สำหรับประเทศไทยอยู่ในระหว่างการดำเนินการออกกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (ร่างกฎหมายโดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ - เนคเทค)
2. อธิบายเกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ชนิดต่างๆ
เป็นการกระทำที่ผิดกฎหมายโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลที่อยู่บนระบบดังกล่าว ส่วนในมุมมองที่กว้างขึ้น “อาชญากรรมที่เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์” หมายถึงการกระทำที่ผิดกฎหมายใดๆ ซึ่งอาศัยหรือมีความเกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ถือเป็นอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์โดยตรง |
•คอมพิวเตอร์ การปกป้องเครื่องคอมพิวเตอร์จากอาชญากรคอมพิวเตอร์
ภัยธรรมชาติ และภัยคุกคามอื่น ๆ
รวมไปถึงป้องกันไม่ให้ผู้ที่ไม่มีสิทธิ์เข้าถึงข้อมูล
•อาชญากรคอมพิวเตอร์ (computer criminal)
–พนักงานหรือลูกจ้าง
–บุคคลภายนอก
–แฮกเกอร์
(hacker)
และ
แครกเกอร์ (cracker)
–องค์กรด้านอาชญากรรม
–ผู้ก่อการร้าย
3. มาตรการการป้องกันความปลอดภัยคอมพิวเตอร์ที่สำคัญมีอะไรบ้าง การเข้าถึงรหัสคืออะไร บริษัท หรือบุคคลจะใช้ได้อย่างไร
การเสริมสร้างความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์เพื่อป้องกันการถูกโจมตีจากผู้ไม่หวังดีนั้น สิ่งที่สำคัญคือองค์กรจะต้องทำการป้องกันเครือข่าย และระบบจากภัยคุกคามต่างๆ ทั้งจากภายนอก และภายในองค์กรเอง ซึ่งองค์การจะต้องมีการดำเนิน
•การเข้ารหัสลับ
•การจำกัดสิทธิ์ในการเข้าถึง
•การระวังภัยที่อาจเกิดขึ้น
•การสำรองข้อมูล
4. การยศาสตร์คืออะไร การใช้คอมพิวเตอร์มีผลต่อสุขภาพด้านจิตใจ และร่างกายอย่างไร มีขั้นตอนที่จะลดความเครียดจากเทคโนโลยีได้อย่างไร
•การยศาสตร์ (ergonomics)
ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดสภาพในการทำงานเพื่อให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
•สุขภาพทางด้านร่างกาย
–เมื่อยสายตาและปวดหัว
–ปวดหลังหรือปวดคอ
–การบาดเจ็บตึงเครียดจากการทำซ้ำๆ
(repetitive strain injury : RSI)
•สุขภาพด้านจิตใจ
–เสียงรบกวน
–การติดตามแบบอิเล็กทรอนิกส์
(electronic
monitoring)
•ความเครียดจากเทคโนโลยี (techno stress)
–ความเครียดที่เกี่ยวข้องกับการใช้คอมพิวเตอร์
–ความเครียดที่เกิดขึ้นเมื่อต้องปรับตัวเข้าหาคอมพิวเตอร์
5. ในฐานะผู้ใช้อคอมพิวเตอร์ คุณจะมีส่วนช่วยในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างไร
1. ใช้อย่างฉลาด การจะใช้ ต้องพิจารณาให้รอบคอบถึงผลดี ผลเสีย ความขาดแคลนหรือความหายากในอนาคต อีกทั้งพิจารณาหลักเศรษฐศาสตร์ถึงต้นทุนและผลตอบแทนอย่างถี่ถ้วน
2. ประหยัด (เก็บ รักษา สงวน) ของที่หายาก หมายถึง ทรัพยากรใดที่มีน้อยหรือหายาก ควรเก็บรักษาไว้มิให้สูญไป บางครั้งถ้ามีของบางชนิดที่พอจะใช้ได้ ต้องใช้อย่างประหยัด
3. ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีหรือเสื่อมโทรมให้ดีขึ้น (ซ่อมแซม ปรับปรุง) กล่าวคือ ทรัพยากรใดก็ตามมีสภาพล่อแหลมต่อการสูญเปล่า หรือจะหมดไปถ้าดำเนินการไม่ถูกต้องตามหลักวิชา ควรหาทางปรับปรุงให้อยู่ในลักษณะที่ดีขึ้น
OK
ตอบลบ